สังเกต ป้องกัน รู้เท่าทัน แถบสีน้ำตาลบนเล็บ หรือ มะเร็งไฝ (Longitudinal Melanonychia) 4 เมษายน 25654 เมษายน 2022Pattama Kokittipongบทความสุขภาพ แถบสีน้ำตาลบนเล็บ ( longitudinal melanonychia ) เกิดจากอะไรได้บ้าง
ทำความรู้จัก “โรคผมร่วงเป็นหย่อม” (Alopecia Areata) คืออะไร 29 มีนาคม 256529 มีนาคม 2022Pattama Kokittipongบทความสุขภาพ โรคผมร่วงเป็นหย่อม เป็นโรคแพ้ภูมิตัวเองหรือออโต้อิมมูนชนิดหนึ่ง ที่มีระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายไปทำลายเซลล์รากผมบางบริเวณ ทำให้ผมร่วงอย่างรวดเร็ว
รู้เท่าทัน “โรคงูสวัด” 28 ธันวาคม 256428 ธันวาคม 2021Pattama Kokittipongบทความสุขภาพ การติดเชื้อที่ทำให้เกิดตุ่มน้ำพองใสขึ้นบริเวณผิวหนังร่วมกับอาการปวดแสบปวดร้อน ซึ่งเกิดจาก reactivation ของเชื้อสุกใส
“เริม” โรคติดต่อทางผิวหนัง ที่ต้องระวัง!!! 27 ธันวาคม 256428 ธันวาคม 2021Pattama Kokittipongบทความสุขภาพ เริมเกิดจากการติดเชื้อ Herpes virus type 1 หรือ Herpes virus type 2 ที่ผิวหนังซึ่งพบได้บ่อย ทำให้มีตุ่มน้ำขึ้นที่ผิวหนัง หลังจากการติดเชื้อครั้งแรกนั้นเจ้าไวรัสจะหลบซ่อนอยู่บริเวณเส้นประสาท
ผิวหนังอักเสบ จากแมลง “ตัวคุ่น” 20 ธันวาคม 256420 ธันวาคม 2021Pattama Kokittipongบทความสุขภาพ ตัวคุ่น หรือ “ริ้นดํา” (Black flies) ส่วนใหญ่มักจะเรียกแมลงขนาดเล็กๆ ที่กัดเจ็บว่าตัวคุ่นหรือปึ่ง ซึ่งเป็นอีกชื่อของริ้น
“โรคหูดข้าวสุก” แค่สัมผัสก็ติดได้ จริงหรือ? 20 ธันวาคม 256420 ธันวาคม 2021Pattama Kokittipongบทความสุขภาพ หูดข้าวสุก คือการติดเชื้อทางผิวหนังที่เกิดจากเชื้อไวรัสมอลลัสคุม คอนทาจิโอซุม ซึ่งสามารถติดต่อได้จากการสัมผัสโดยตรงทางผิวหนังหรือการรับเชื้อจากสิ่งของที่มีการปนเปื้อนของเชื้อไวรัส
โรคน้ำเกินในโพรงสมอง (Normal pressure hydrocephalus) 18 พฤศจิกายน 256418 พฤศจิกายน 2021Pattama Kokittipongบทความสุขภาพ สมองของเราจะมีโพรงอยู่ภายใน โพรงสมองจะมีน้ำเลี้ยงสมองและไขสันหลัง ทำหน้าที่ป้องกันดูดซับแรงกระทบกระแทกจากภายนอก ในสภาวะที่การดูดซึมของน้ำผิดปกติ จะมีน้ำคั่งและดันให้โพรงสมองมีขนาดใหญ่ขึ้น
การดูแลผู้ป่วยเอ็นไขว้หน้าฉีกขาด 18 พฤศจิกายน 256418 พฤศจิกายน 2021Pattama Kokittipongบทความสุขภาพ เอ็นไขว้หน้า เป็นเอ็นยึดข้อเข่าที่สำคัญภายในเข่า ช่วยให้มีความมั่นคงของเข่าในการบิด หรือหมุนข้อเข่า แรงบิดหมุนที่รุนแรงทำให้เอ็นไขว้หน้าขาดได้
น้ำวุ้นตาเสื่อม อันตรายไหม รักษาอย่างไร? 17 พฤศจิกายน 256417 พฤศจิกายน 2021Thongchaiบทความสุขภาพ โรคน้ำวุ้นในตาเสื่อมเป็นโรคที่พูดกันอยู่ทั่วไป แต่คำถามที่หมอถูกถามบ่อยที่สุด ไม่ว่าจะจากคนที่เพิ่งมีอาการ หรือไม่ว่าคนไข้ที่รับการตรวจและวินิจฉัยมาก่อนหน้าแล้ว จะมีอยู่ด้วยกัน 2 คำถาม คือ