ปวดหลัง (Back Pain) ตรวจแต่เนิ่น ปล่อยทิ้งไว้อาจเรื้อรัง 8 กันยายน 256314 กันยายน 2020Navaporn UbolthepchaiInfographic การประเมินเพื่อหาสาเหตุจากอาการปวดหลัง โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านกระดูกสันหลังและเวชศาสตร์ฟื้นฟู
4 ท่ากายบริหาร สำหรับผู้ป่วยปวดหลัง 8 กันยายน 25639 กันยายน 2020Navaporn UbolthepchaiInfographic 4 ท่ากายบริหารสำหรับผู้ป่วยปวดหลัง - 1. เริ่มต้นนอนหงาย ชันเข่าทั้งสองข้างขึ้น และวางแขนทั้งสองไว้ข้างลำตัว, 2. ชันเข่าทั้งสองข้างขึ้น จากนั้นใช้มือทั้งสองข้างจับเข่า ค่อย ๆ ดึงเข่าเข้าหาลำตัวช้า ๆ จนรู้สึกตึงบริเวณสะโพกเล็กน้อย
คำแนะนำผู้ป่วยใส่เฝือก 8 กันยายน 25638 กันยายน 2020Navaporn UbolthepchaiInfographic คำแนะนำผู้ป่วยใส่เฝือก - เป็นวิธีที่ช่วยพยุงกระดูกและกล้ามเนื้อที่ได้รับบาดเจ็บ ลดปวด ลดบวม ลดกล้ามเนื้อหดเกร็ง และช่วยป้องกันไม่ให้กระดูกที่จัดเรียงแล้วเกิดการเคลื่อนที่ผิดรูปขึ้นอีก
คำแนะนำหลังใส่เฝือกที่ขาแบบสั้น 8 กันยายน 25638 กันยายน 2020Navaporn UbolthepchaiInfographic คำแนะนำหลังใส่เฝือกที่ขาแบบสั้น - ยกขาสูง, เคลื่อนไหวนิ้วเท้า ควรทำวันละ 3-10 ครั้ง, อย่าให้เฝือกได้รับแรง กดจนแตกหรือยุบ, ห้ามใช้สิ่งของแหย่ เข้าไปใต้เฝือก, ไม่ควรดึงสำลี หรือวัสดุเฝือกออก, ห้ามตัดเฝือกออกเอง, อย่าให้เฝือกเปียก
โรคกระดูกพรุน และการป้องกันกระดูหักซ้ำ 8 กันยายน 25638 กันยายน 2020Navaporn UbolthepchaiInfographic โรคกระดูกพรุน เป็นโรคร้ายแรงที่ทำให้กระดูกสูญเสียความแข็งแรง เนื่องจากมวลกระดูกและคุณภาพของกระดูกลดลง การตรวจความหนาแน่นของกระดูก
ลดอักเสบ ลดปวด ด้วยการฉีดยาเข้าข้อ 24 สิงหาคม 25638 กันยายน 2020ThongchaiInfographic การฉีดยาเข้าข้อเพื่อลดปวด อักเสบ แพทย์มักพิจารณาฉีดในกลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการเริ่มต้นของข้อเสื่อม โดยการฉีดยาสเตียรอยด์ภายในข้อ